ภาพรวมของกฎระเบียบยานพาหนะ

POSTED BY ALICE

 

 

วันนี้ Eco Cat News เราจะพามาดูกฎระเบียบที่จะเกิดขึ้นตามมา และเกี่ยวข้องกับยานพาหนะ

 

 

ทำไมจึงต้องมีการสร้างกฎระเบียบยานพาหนะขึ้นมา

รัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมได้ตระหนักถึงยานพาหนะมีส่วนทำให้เกิดภาวะโลกร้อนและสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง รวมถึงส่งผลในแง่ลบในการคุกคามกฎระเบียบข้อบังคับ ผู้ประกอบการมีความเสี่ยงที่จะถูกลงโทษสถานหนัก หากยังเพิกเฉย หรือพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบข้อบังคับเหล่านี้ รวมทั้งได้รับการสนับสนุนที่คำนึงถึงความสำคัญของสิทธิพิเศษมากกว่ามาตรฐาน เพราะว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมีความสำคัญเกี่ยวข้องกันมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นกฎระเบียบยานพาหนะจึงมีความเข้มงวด และแพร่หลายมากยิ่งขึ้น

ปัจจุบันมีกฎระเบียบข้อบังคับในเมืองหลักๆ 4 ที่ ได้แก่

  1. ทวีปยุโรป
  2. สหรัฐอเมริกา โดยรัฐแคลิฟอร์เนียที่อาจมีกฎระเบียบที่เข้มงวดที่สุด
  3. ประเทศจีน
  4. ประเทศญี่ปุ่น

     

ประเภทของยานพาหนะ


ยานพาหนะที่มีน้ำหนักเบา

ยานยนต์ทุกคันที่มีน้ำหนักจำกัดโดยรวมอยู่ที่ 4,500 กิโลกรัม หรือน้อยกว่า จะจัดอยู่ในประเภท วัสดุที่มีน้ำหนักเบา ประเภทนี้มีมากที่สุด ซึ่งมีความเกี่ยวข้องด้านผลิตและต้องการในทุกๆปี ทั้งนี้ยังส่งผลกระทบถึงกฎระเบียบที่ตามมา

ในหลายๆประเทศได้มีการกำหนดกฎระเบียบ โดยให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานทวีปยุโรป แม้ว่าเวลาอาจต่างกันก็ตาม ตัวอย่างเช่น เกาหลีใต้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของกฎข้อบังคับการปล่อยมลพิษของยุโรปอย่างถูกต้อง ในขณะที่ประเทศไทย และรัสเซีย มักจะมีการดำเนินการที่ล่าช้า

 

 

Light-Duty Vehicles Legislatioin

 

 

ยานพาหนะที่มีน้ำหนักบนถนน / นอกถนน

ยานพาหนะที่หนักถูกกำหนดให้มีน้ำหนักมากกว่า 4,500 กิโลกรัม เป็นยานพาหนะที่ออกแบบมาสำหรับงานหนัก เช่น รถโดยสาร และรถบรรทุก อย่างไรก็ตาม HDV ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานด้านนอกถนน (เช่น รถแทรกเตอร์) จึงมีกฎระเบียบที่แตกต่างกันออกไป

โดยทั่วไป การปล่อยของยานพาหนะที่มีน้ำหนัก นั้นเป็นสิ่งที่อันตรายต่อสภาพแวดล้อมมากกว่ายานพาหนะที่มีน้ำหนักเบา รวมไปถึงผลด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่มีความเข้มงวดมากขึ้น


 

Heavy-duty Vehicles on road

 

 

ยานพาหนะทั่วโลกที่มีน้ำหนักบนท้องถนนนั้น อยู่ภายใต้ ''ระดับ'' ข้อบังคับ และมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาได้มีการควบคุมเอาไว้

 

ยานพาหนะมือสอง

ประเทศที่ไม่มีการควบคุมการนำเข้ายานพาหนะมือสอง ซึ่งจะขึ้นอยู่กับการผลิตในประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการควบคุมแหล่งที่มา ตัวอย่างเช่น ประเทศแอฟริกาตะวันตกมีการนำเข้ารถยนต์จากทวีปยุโรปเป็นหลัก ในขณะที่ประเทศในแอฟริกาตะวันออกรถยนต์ทั้งหมดจะมาจากยุโรป และสหรัฐอเมริกา ดังนั้นท่อแคทที่ใช้แล้วในส่วนของรถยนต์ทั่วโลก จึงมีความแตกต่างกันอย่างมาก ทั้งนี้ได้ขึ้นอยู่กับประเทศที่มีการผลิตยานพาหนะด้วย

 

 

Second-hand vehicles legislation

 

 

กฎระเบียบในอนาคต

เมื่อเดือนกันยายน 2018 ยุโรปได้ออกคำสั่งให้ใช้ตัวกรองอนุภาคน้ำมันเบนซิน (GPF) ที่ช่วยในด้านการรักษา และจำกัดการปล่อยมลพิษที่เป็นอันตรายจากเครื่องยนต์เบนซินโดยทางตรง (GDI) โดยทั่วไปจะไม่มีการนำโลหะที่มีมูลค่ามาผลิต ดังนั้นการรีไซเคิลสิ่งเหล่านี้จึงให้มูลค่าที่น้อยมาก อย่างไรก็ตามการผลิตนั้นมีนัยสำคัญเกี่ยวกับด้านราคาต้นทุนที่สูง รวมทั้งเป็นผลมาจากบริษัทรถยนต์ได้พยายามรวบรวม GPFs จากรถยนต์ที่หมดอายุการใช้งาน เพื่อนำมาใช้กับรถยนต์รุ่นใหม่ ซึ่งทำให้มีระยะการใช้งานเพิ่มขึ้นถึงสามเท่า

นอกจากนี้ส่วนประกอบที่เป็นตัวกรองฝุ่นมีราคาค่อนข้างแตกต่างจากท่อแคท ท่อแคทที่ส่วนตรงข้ามฐานเซรามิกของตัวกรองอนุภาคนั้นทำมาจากซิลิกอนคาร์ไบด์ ปัญหาหลักคืออุณหภูมิที่หลอมวัสดุสองชนิดนี้ไม่เหมือนกัน โดยที่ซิลิคอนคาร์ไบด์ต้องการอุณหภูมิสูงกว่า 1600 องศาเซลเซียส ในขณะที่เซรามิกต้องการอุณหภูมิเพียง 800 องศาเซลเซียสเท่านั้น ซึ่งความหมายนี้คือการรีไซเคิลท่อแคทที่ใช้แล้ว ซึ่งมีขึ้นตอนของการแยกส่วน ค่าใช้จ่ายจึงเพิ่มขึ้น 

 

สรุป

การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่แน่นอนในชีวิต และจริงมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของอุตสาหกรรมรีไซเคิลท่อแคท มีความกดดันอย่างต่อเนื่องในด้านของสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมไปถึงความต้องการในแหล่งที่มาของโลหะที่มีมูลค่าน้อยนั้นลดลง และยังได้ส่งผลกระทบถึงตลาดของเราอีกด้วย ซึ่งไม่มีใครแน่ใจได้ว่า เราทั้งหมดได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง และมั่นใจว่ามันจะมีผลตอบสนองเป็นอันดับแรกอีกด้วย